Mycoplasma pneumoniae infection in children
M. pneumoniae เป็นแบคทีเรียที่ติดจากคนไปคนผ่านทางละอองฝอย
มีระยะฟักตัวประมาณ 3 สัปดาห์และคนในครอบครัวเดียวกันพบอัตราการติดเชื้อถึง
90%
การติดเชื้อพบได้ทุกกลุ่มอายุ
และเป็นสาเหตุที่พบบ่อยของการติดเชื้อในปอด (CAP) ในเด็กที่อายุมากกว่า
5 ปี
อาการจะค่อยเป็นค่อยไป
ประกอบด้วย ไข้ต่ำๆ ปวดหัว อ่อนเพลีย และอาจพบอาการทางเดินหายใจอื่นๆ (เช่นคออักเสบ) และอาการนอกทางเดินหายใจ เช่น hemolysis,
skin, และ CNS
·
หลังติดเชื้อจะพบการเป็นพาหะได้บ่อย
อาจนานหลายสัปดาห์- หลายเดือน แม้ว่าจะได้ ATB
·
Pneumonia อาการและ
CXR เป็นได้หลายหลายและไม่จำเพาะ
·
Hemolysis มักไม่รุนแรง
(positive Coombs test, elevated reticulocyte count) ยกเว้นเป็น
sickle cell disease
·
Mucocutaneous disease พบได้ 25% ได้แก่ MP หรือ vesicular
rash, bullous papular purpuric gloves and socks syndrome, จนถึง reactive
infectious mucocutaneous eruption (SJS like syndrome)
·
CNS พบ 0.1%
ได้แก่ meningoencephalitis, acute disseminated
encephalomyelitis (ADEM), transverse myelitis, cerebellar ataxia, GBS, cerebellar
infraction, peripheral neuropathy, CN palsies กลุ่มนี้จะตรวจ CSF
พบ lymphocyte เด่น protein สูง และ glucose ปกติ
·
นอกจากนี้ยังพบอาการระบบอื่นๆได้
เช่น GI symptoms, elevated liver enzyme, arthritis/arthralgia,
myocarditis, pericardial effusion
การวินิจฉัย การตรวจยืนยันที่แนะนำคือ
การตรวจ PCR จาก respiratory specimen รองมาคือการตรวจ
serology (IgM, IgG) ซึ่งจะตรวจเฉพาะในรายที่อาจเปลี่ยนแปลงการรักษา
เช่น พิจารณาให้ ATB หรือ เลือกชนิดของ ATB ที่คลุมเชื้อ
การรักษา
·
Pneumonia แนะนำให้
macrolide หรือ tetracycline แต่ในเด็กที่มีปัญหาเรื่องภูมิคุ้มกันอาจให้
fluoroquinolones เช่น levofloxacin โดยเฉพาะถ้ามีประวัติเคยได้
macrolide มาก่อน
o Azithromycin
10 mg/kg (max 500 mg) PO/IV วันแรก ต่อด้วย 5 mg/kg OD x 4 วัน
o Levofloxacin
ถ้าอายุ 6 เดือน – 5
ปี ให้ 8-10 mg/kg/dose PO/IV q 12 h (max 750 mg/d) x 7-10 วัน
o Levofloxacin
ถ้าอายุ > 5 ปี ให้ 10
mg/kg/dose PO/IV OD (max 750 mg/d) x 7-10 วัน
o Macrolide
resistance พบได้ตั้งแต่ 2-18% ให้สงสัยในรายที่ยังมีไข้
> 48 ชม. หลังเริ่มให้
macrolide ให้เปลี่ยน ATB เป็น tetracycline
หรือ fluoroquinolone
·
URI
ไม่ต้องให้ ATB
·
Mucocutaneous disease
ให้ปรึกษา dermatologist หรือ ID เพื่อวินิจฉัยแยกโรค
·
CNS disease
ให้ปรึกษา neurologist หรือ ID มักจะให้ ATB แต่ไม่มี RCT
ที่ยืนยัน บางครั้งมีการให้ glucocorticoid, diuretic, IVIG, plasma
exchange แต่ได้ประโยชน์ไม่ชัดเจน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น