Anaphylaxis
·
เกิดจาก IgE mediated reaction ต่อ อาหาร ยา หรือแมลงต่อย
การวินิจฉัย คือ มี 1/3 ข้อภายในเวลาไม่เกิน 2-3 ชม. ได้แก่ skin/mucosa (คัน
แดง บวม) + (respiratory compromise หรือ hypotension);
หรือ ได้รับ allergen + (skin/mucosa, respiratory
compromise, hypotension, หรือ persistent GI symptoms)
·
ข้อควรระวัง ได้แก่ อาการเป็นได้หลากหลายมาก (เช่น ขนลุก มี
metallic taste ไอ กลืนลำบาก ปัสสาวะ-อุจจาะราด
สับสน หรือ uterine cramp เป็นต้น), อาจแย่ลงเร็วมาก
(5 นาที ใน iatrogenic, 15 นาที ใน venom,
30 นาที ในอาหาร)
·
รูปแบบการเป็นมี 4 แบบ คือ uniphasic, biphasic (5%; มีอาการซ้ำใน 1-48 ชม.ส่วนใหญ่อาการมักรุนแรงน้อยกว่า
), refractory (rare), และ protracted reaction
(rare)
·
การตรวจ tryptase ภายใน 15 นาที-3
ชม.หลังมีอาการ ช่วยในการ exclude สาเหตุอื่นได้ แต่ไม่ได้ช่วยวินิจฉัย (total tryptase > (2 +
1.2 x baseline tryptase) และต้องพยายามหาสาเหตุให้ได้ ที่ดีที่สุด
คือ ประวัติ ร่วมถึงการตรวจยืนยันด้วย skin test หรือ IgE ในรายที่หาสาเหตุไม่พบควรประเมิน mast cell disorder
·
การรักษา ควรให้ epinephrine ให้เร็วที่สุด แม้จะมีอาการน้อย
แนะนำให้ epinephrine 0.01 mg/kg (max 0.5 mg) IM injection ที่
mid-outer thigh ทุก 5-15 นาที (autoinjector
0.15 mg (< 25 kg) หรือ 0.3 mg (> 25 kg)); ให้ IVF resuscitation ในรายที่มี hypotension,
orthostasis, หรือ incomplete response ต่อ epinephrine
(ในรายอื่นๆให้เปิด NSS
IV KVO); ให้ oxygen, bronchodilator เสริมถ้ายังมีอาการหลังให้
epinephrine
·
IV epinephrine ในรายที่ profound hypotension หรือ impending shock ที่ไม่ตอบสนองต่อ IM
epinephrine + IVF resuscitation แนะนำให้ continuous slow
IV infusion โดยผสม epinephrine 1 mg + NSS 1000 mL (1
mcg/mL) หรือจะผสมให้เข้มข้นขึ้น epinephrine 1 mg + NSS 250
mL (4 mcg/mL) drip 0.1 mcg/kg/min (เริ่ม 0.2 mcg/kg/min ใน impending collapsed) เพิ่มขนาดครึ่งหนึ่งทุก 2-3
นาที จน BP เพิ่มขึ้น 10-15% นาน 3-5 นาที ค่อยปรับ rate อีกครั้ง
·
แนะนำ admit 24 ชม.ในรายที่เสี่ยงต่อ biphasic reaction ได้แก่ severe
anaphylaxis (RS, CVS), ได้ epinephrine IM > 1 ครั้ง, หรือ ได้ epinephrine ช้ากว่า
60 นาที; เมื่อ D/C ให้ emergency action plan, epinephrine autoinjector, F/U
allergist; การให้ antihistamine หรือ glucocorticoid
ไม่ช่วยป้องกันการเป็นซ้ำ อาจให้ใน extensive angioedema หรือมี asthma เดิม
Cofactor-dependent food allergy
·
คือ มี anaphylaxis หลังกินอาหารบางอย่างภายใน 2-3
ชม. ถ้ามี cofactor (หลายอย่าง)
ร่วมด้วย ที่สำคัญ คือ exercise (exercise-induced
anaphylaxis) และอื่น ได้แก่ alcohol, NSAID, infection,
high pollen, heat, humidity, menstrual status; ให้ตรวจ allergen-specific
IgE ต่ออาหารที่สงสัย; การรักษา หลีกเลี่ยงอาหาร 4 ชม.ก่อนและ
1 ชม.หลังออกกำลังกาย มีและใช้ EpiPen;
ในรายที่มีอาการเฉพาะผิวหนังและหากิจกรรมอื่นที่ไม่เกิดอาการไม่ได้อาจให้
H1 antihistamine +/- montelukast; ใน refractory
case ที่หลีกเลี่ยงอาหารหรือ cofactor ไม่ได้ ให้
omalizumab
Fatal anaphylaxis
·
ถ้าเป็นจากอาหารมักมาด้วย respiratory arrest ส่วน venom หรือยาจะมาด้วย cardiovascular collapse และมักจะมีโรคร่วม
(asthma ในวัยรุ่น และ cardiopulmonary disease ในคนสูงอายุ)
Food-induced anaphylaxis
·
ได้แก่ ถั่วลิลง ไข่ไก่ นมวัว กุ้ง ปู หอย ปลา งา มีอาการเหมือน
anaphylactic
reaction อื่นๆ แต่อาการทาง GI จะเด่นกว่า การเสียชีวิตมักเกิดในรายที่
reaction ครั้งก่อนไม่รุนแรง และการได้ epinephrine ช้า
Idiopathic anaphylaxis (IA)
·
แบ่งเป็น frequent (> 2 ครั้ง ใน 2 เดือน หรือ 6 ครั้งใน 1 ปี) และ infrequent; ในรายที่เป็นบ่อยให้ PO prednisolone
40-60 mg/d จนหายแล้วเปลี่ยนเป็นวันเว้นวัน ค่อยๆลด 5 mg/สัปดาห์ ใน 6-8 สัปดาห์ + antihistamine ให้จนหยุด prednisolone > 4 สัปดาห์; ในรายที่หยุด prednisolone ไม่ได้ ให้ omalizumab,
ketotifen, cromolyn, leukotriene modifiers, rituximab; ส่วนใหญ่ remission
ใน 2-3 ปี
Hereditary alpha-tryptasemia (HaT)
·
พบในคนผิวขาว 5-6% โดย 2/3 ไม่มีอาการ
ที่เหลือจะมี immediate hypersensitivity reaction บ่อยและรุนแรง
และสัมพันธ์กับ systemic mastocytosis, Hymenoptera venom allergy,
idiopathic anaphylaxis; การวินิจฉัย สงสัยในรายที่มี basal total
tryptase > 8 ng/mL ร่วมกับตรวจ PCR ดูจำนวน
copy ของ TPSAB1 gene; การรักษา ในรายที่มีอาการให้ H1, H2 antihistamine, ketotifen, cromolyn
sodium, leukotriene modifiers, aspirin, intermittent corticosteroid, และมี EpiPen; venom immunotherapy, omalizumab
SAR-CoV-2 vaccine allergy
·
ในรายที่เคยมีอาการแพ้เล็กน้อย (limited urticaria, flashing, spontaneous resolving
chest/throat symptoms, subjective symptoms) แนะนำให้ antihistamine
ก่อนให้เข็มต่อไป และสังเกตอาการ 30 นาที แต่ในรายที่มีอาการรุนแรง
อาจให้ non-mRNA COVID-19 vaccine แทน หรือ ทำ skin
test ถ้า negative ให้ antihistamine ก่อนให้ vaccine หรือถ้า positive ให้ graded dose และสังเกตอาการ หรือ ตรวจระดับ antibody
ว่าเพียงพอแล้วหรือไม่; ใน delayed-reaction
> 2 ชม.ให้ vaccine เข็มต่อไปได้ตามปกติ
Seminal plasma hypersensitivity (SPH)
·
พบในผู้หญิงอายุ 20-30 ปี มีอาการภายในเป็นนาที-ชม.หลังหลั่ง อาจวินิจฉัยผิดเป็น vulvovaginitis
วินิจฉัยโดยทำ skin prick test (อาจ negative
ใน localized reaction) ป้องกันได้โดยใช้ condom;
รักษาโดยทำ intravaginal desensitization
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น