วันพฤหัสบดีที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2566

Carotid artery disease

Carotid artery disease

  • ปกติจะทำ non-invasive 2 อย่างแล้วดูว่าผลไปด้วยกันหรือไม่ โดนในคนที่มาด้วย stroke หรือ TIA จะทำ CTA หรือ MRA ก่อน ถ้ามี stenosis > 50% จะยืนยันโดยใช้ carotid duplex US (CDUS); ส่วนในคนที่ไม่มีอาการจะทำ CDUS ก่อน ถ้า stenosis > 50% และอาจทำ revascularization จึงจะทำ CTA หรือ MRA ต่อ (ปกติไม่แนะนำให้คัดกรองในคนที่ไม่มีอาการ เพราะมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิด stroke ต่ำ (< 1 % ต่อปี))

การรักษา

  • ทุกรายให้ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิด atherosclerosis และให้ antiplatelet + statin therapy
  • Asymptomatic extracranial carotid stenosis 70-99% อาจพิจารณาทำ revascularization (อายุขัย > 5 ปี และ perioperative risk ต่อ stroke/death < 3%) ได้แก่ carotid endarterectomy (CEA) หรือ trans-carotid artery stenting
  • Symptomatic extracranial carotid stenosis (คือมีอาการตาม distribution ของ carotid ภายใน 6 เดือน) ถ้า stenosis 70-99% ที่มีอายุขัย > 2 ปี หรือ 50-69% ที่มีอายุขัย > 3 ปี (โดยเฉพาะถ้าทำภายใน 2 สัปดาห์) แนะนำทำ CEA ระหว่าง 2-14 วันหลัง stroke ยกเว้นใน persistent + severe neurological deficit หรือเสี่ยงสูงต่อการผ่าตัด (อาจทำ trans-carotid artery stenting แทน)

 

Carotid endarterectomy

  • ก่อนผ่าตัดแนะนำให้ aspirin + statin และให้ ATB prophylaxis (หยุดไม่เกิน 24 ชม.หลังผ่าตัด) อาจทำ local หรือ GA ให้ heparin ก่อน carotid artery clamping แล้วทำ plaque removal + patch closure หลังผ่าตัดให้ protamine เพื่อ reverse heparin และคุม SBP 100-150 mmHg อัตราตาย < 0.5-3%
  • ภาวะแทรกซ้อน ได้แก่ MI (0-2%), stroke (< 0.25-3%), cerebral hyperperfusion syndrome (มาด้วย headache, stroke, seizure ต้องคุม BP ให้ดีตลอด 1 สัปดาห์), cervical hematoma, nerve injury (hypoglossal, recurrent laryngeal/vagus, marginal mandibular branch ของ facial nerve), wound infection, carotid restenosis (2-10% ใน 5 ปี)

 

Carotid artery stenting

  • ใน severe bilateral carotid stenosis แนะนำให้ทำทีละข้าง เพราะเสี่ยงต่อ cerebral hyperperfusion syndrome และ severe bradycardia หรือ hypotension จาก bilateral baroreceptor irritation ก่อนทำให้ aspirin 325 mg OD + clopidogrel 75 mg OD (ให้ต่อหลังทำ > 4 สัปดาห์ หลังจากนั้นให้ aspirin 325 mg OD ต่อ ยกเว้นมีประวัติ neck irradiation ต้องให้ต่อทั้งคู่ เพราะเสี่ยง recurrent carotid stenosis) รวมถึง perioperative statin
  • ถ้าไม่ได้ใช้ aspirin + statin มาก่อนให้ aspirin 325 mg PO BID + clopidogrel 75 mg PO BID x 48 ชม. (หรือ aspirin 650 mg + clopidogrel 450 mg load 4 ชม. ก่อนผ่าตัด) และ atorvastatin 40 mg OD x 7 วัน (หรือ 80 mg load 12 ชม.ก่อนผ่าตัด); ผ่าตัดให้ heparin (reverse หลังผ่าตัด ถ้าไม่ได้ใช้ vascular closure device) ใช้ embolic protection device
  • ภาวะแทรกซ้อน ได้แก่ stroke (hypoperfusion, hyperperfusion, hemorrhage), hematoma, bleeding pseudoaneurysm, distal atheroembolization, MI, contrast-related renal failure, restenosis, carotid stent fracture

 

Coronary artery bypass grafting

  • ·      ในรายที่จะทำ CABG แนะนำให้ทำ carotid revascularization ในรายที่มี symptomatic carotid stenosis 50-99% (70-99% ในผู้หญิง) หรือ bilateral asymptomatic 80-99% หรือ (unilateral asymptomatic 70-99%+ contralateral total occlusion) คือทำ CEA + CABG ไปพร้อมกัน (ยกเว้น chronic stable angina ให้ทำ CEA หรือ CAS ก่อน CABG)
  • ·      ผู้ป่วย stroke แนะนำให้ delay CABG (ถ้าไม่ emergency) อย่างน้อย 1 เดือน (3 เดือนใน large territories) เพื่อรอการกลับมาของ cerebral autoregulatory mechanism และ remodeling ของ parenchymal damage เพื่อลดโอกาส hemorrhagic transformation

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น