วันพุธที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2566

Temporomandibular disorder

Temporomandibular disorder

  • พบว่าเกิดจากหลายปัจจัยร่วมกันทั้งทาง genetic (low pain threshold), psychological (anxiety, depression), และ environment (posture)
  • มีอาการปวดหน้าด้านเดียว ปวดมากขึ้นเมื่อขยับกราม มักปวดหู ปวดศีรษะ และปวดกราม และมี TMJ dysfunction (อ้าปากได้น้อย มีเสียงคลิกเมื่อขยับกราม กรามล็อค)
  • ในรายที่มีอาการมากหรือเป็นเรื้อรัง แนะนำทำ film panoramic หรือ cone beam CT เพื่อ r/o teeth หรือ mandible pathology แต่ไม่แนะนำให้ film TMJ เพราะไม่ได้ข้อมูลที่มีประโยชน์

การรักษา

  • ให้คำแนะนำ เช่น head posture ที่เหมาะสม, isometric jaw exercise, sleep hygiene, หลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้น (เช่น การกัดเล็บ เคี้ยวปากกา) และรักษาสาเหตุที่พบ เช่น occlusal (bite) splint ในรายที่มี bruxism หรือรักษา depression, anxiety, stress disorders ที่มีร่วมด้วย
  • Pharmacotherapy ในรายที่ไม่ดีขึ้น แนะนำ long-acting NSAID (naproxen 250-500 mg PO BID) +/- skeletal muscle relaxant (ถ้ามี muscle of mastication tenderness) 10-14 วัน ส่วนในรายที่ต้องใช้ยา > 2 สัปดาห์ แนะนำให้ TCA
  • ในรายที่มีอาการรุนแรง แนะนำส่งตัวพบ maxillofacial surgeon ซึ่งอาจทำ trigger point injection, botulism toxin injections, intraarticular injection, หรือ surgery ในรายที่มี intraarticular disorder ที่ไม่ดีขึ้นหลักรักษา 3-6 เดือน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น