Systemic sclerosis (SSc)
เป็นโรคของ
autoimmunity ที่มีอาการจาก vascular
dysfunction และ fibrosis ของ skin และ internal organ มีการแบ่งประเภท ได้แก่ limited
cutaneous SSc (lcSSc), diffuse cutaneous SSc (dcSSc), SSc sine scleroderma, และ SSc overlap syndrome
อาการและอาการแสดง
- Skin มี progressive skin fibrosis เริ่มจากนิ้วมือ มือ และใบหน้า ผิวหนังบวมแดง แล้วค่อยๆหนาและแข็ง
- Digital vasculopathy คือ มีอาการของ Raynaud phenomenon (RP) ช่วงแรกจะเป็น
reversible vasospasm แต่สุดท้ายจะมี structural
change ของ small blood vessel ทำให้เป็น digital
ulcer และ tissue loss
- MSK: arthritis,
tendinitis, joint contractures
- GI มี smooth
muscle atrophy และ gut wall fibrosis ถ้าเป็นที่
oropharynx จะอ้าปากได้น้อย น้ำลายแห้ง กลืนไม่ลง
ทำให้อาหารค้างในปาก ถ้าเป็นที่ esophagus ซึ่งพบบ่อยที่สุด
จะมีอาการของ GERD ส่วนที่ stomach อาจมี
gastroparesis, GIB จาก mucosal telangiectasia
(CREST) หรือ gastric antral venous ectasia (GAVE); ที่ small bowel จะมี intestinal stasis และ dilatation ทำให้ท้องอืด และอาจมี pseudo-obstruction
+ bacterial small bowel overgrowth (SIBO) with malabsorption; ที่
colon จะพบ constipation และ
fecal incontinence ได้บ่อย
- Pulmonary: interstitial
lung disease (ILD), pulmonary arterial hypertension (PAH)
- Cardiac: มักไม่มีอาการ อาจพบ microvascular angina, SVT, autonomic
insufficiency (orthostatic dizziness/hypotension), pericardial effusion,
pericarditis, myocarditis หรือเป็น secondary จาก PAH, ILD, scleroderma renal crisis (SRC)
- Kidney: albuminuria, mild elevated Cr, HT; พบ SRC
ได้ 5-20% ใน diffuse cutaneous SSc และ 1-2% ใน limited cutaneous SSc โดยจะเกิดภายใน 5 ปีแรกของโรค
- NS: myopathy, neuropathy (พบน้อย)
- GU: erectile dysfunction, sexual dysfunction
การวินิจฉัย
มักสงสัยในรายที่มีอาการทางผิวหนัง (หนังแข็ง
นิ้วบวม มือตึง มีแผลปลายนิ้ว มี RP) และมักจะมีอาการของ GERD
Lab:
CBC, Cr, CK, UA; serology test (ANA, anti-Scl-70, ACA, Anti-RNA polymerase III
antibody, Anti-Th/To antibody) ถ้า positive จะช่วยสนับสนุนการวินิจฉัย
- CT chest, PFT, Doppler echocardiography เพื่อประเมิน
ILD และ PAH
- ECG, echocardiogram, BNP, troponin ทำทุกปี
- Upper endoscopy ในรายที่มีอาการของ GERD
Systemic
sclerosis sine scleroderma พบ 10%
คือ ไม่มีความผิดปกติที่ผิวหนัง วินิจฉัยจากอาการอื่นๆ เช่น RP,
esophageal hypomotility, nailfold microvascular changes, pulmonary/renal
involvement และตรวจพบ autoantibodies
การรักษา
- ต้องประเมินว่ามี organ ใดที่ได้รับผลกระทบบ้างและประเมินว่าเป็น reversible
(inflammation, vasoconstriction) หรือ irreversible
(fibrosis, ischemic necrosis) ในเวลานัดติดตามอาการต้องดู major
organ ต่างๆ โดยเฉพาะ cardiac, interstitial lung disease,
pulmonary HT, renal
- Diffuse skin necrosis ถ้าไม่มี visceral organ ให้ methotrexate (MTX) หรือ mycophenolate
mofetil (MMF)
- Raynaud phenomenon ถ้ายังไม่มี complication (ulcer,
ischemia) ให้หลีกเลี่ยงปัจจัยกระตุ้น (cold, smoking,
vasoconstricting drugs, emotional stress) และอาจให้ยา CCB
(amlodipine) ถ้าไม่ดีขึ้นให้ PDE type 5 inhibitors หรือ topical nitrate
- Kidney ถ้าเกิด SRC จะมี AKI, abrupt HT, normal urine
sediment, และอาจมี MAHA; การรักษา มีเป้าหมาย
คือ ให้ BP ลงมาใน 72 ชม. ให้ captopril ถ้ายังคุมไม่ได้ให้เพิ่ม amlodipine (ACEI มีความจำเป็นมากต่อ kidney recovery เพราะฉะนั้นจะไม่หยุดยาแม้ว่าจะมี Cr rising); แนะนำให้
monitor home BP + serum Cr ทุกราย และหลีกเลี่ยง glucocorticoid
- GI: oropharynx ทำ facial
exercise, dental care, artificial saliva; esophagus รักษา GERD;
gastroparesis ให้ปรับอาหาร ให้ prokinetic, antiemetic;
intestinal pseudo-obstruction + SIBO ให้ nutrition
support, ATB; pneumatosis cystoides intestinalis และ pneumoperitoneum
ส่วนใหญ่รักษาแบบ conservative; fecal incontinence ให้ ATB, antidiarrhea, bile acid-binding resin
- Pulmonary ถ้ามี SSc-ILD และไม่มี active
infection ให้ MMF และคอย monitor เรื่อง bone marrow suppression ให้ยานาน >
24 เดือน นัดทำ PFT ทุก 3-6 เดือน (ยาทางเลือกอื่น เช่น tocilizumab,
cyclophosphamide) ถ้าไม่ดีขึ้นอาจทำ lung transplantation
- MSK ถ้ามี arthralgia ให้ NSAID
แต่ถ้ามี arthritis ให้รักษาเหมือน RA คือให้ prednisolone < 10 mg/g ไม่เกิน 2-4
สัปดาห์ + hydroxychloroquine 200-400 mg/d ถ้าไม่ดีขึ้นให้
MTX (ไม่ควรให้ถ้ามี lung fibrosis) และให้ทำ
active + passive exercise เพื่อป้องกัน contracture;
inflammatory myopathy ให้ low-dose corticosteroid +/-
MTX/azathioprine
- Cardiac microvascular angina ให้ CCB, nitrate,
statin, aspirin แต่หลีกเลี่ยง beta-blocker; pericarditis ไม่แนะนำให้ glucocorticoid (เสี่ยง SRC); ถ้ามี heart failure + elevated cardiac enzyme ที่ไม่ได้เป็นจาก
CAD ให้ low-dose glucocorticoid (prednisolone <
10-20 mg/d) + cyclophosphamide; พบว่าการให้ CCB
(nifedipine 20 mg PO TID) ช่วยเพิ่ม cardiac muscle
perfusion และ function
- GU ถ้ามี erectile dysfunction อาจให้ long-acting PDE-5 inhibitor แบบ fixed
dose (on-demand มักไม่ได้ผล)
- Hand อาจมีบทบาทของ surgery ในรายที่มีภาวะแทรกซ้อน เช่น digital
ischemia, joint contracture, calcinosis cutis
Mixed connective tissue disease (MCTD)
- เป็น systemic rheumatic disease ที่มี high
titer ของ anti-U1 ribonucleoprotein (U1 RNP) ร่วมกับลักษณะที่พบใน SLE, systemic sclerosis, rheumatoid
arthritis, polymyositis
- Lab: CBC, Cr, UA, ANA, anti-U1 RNP, RF, anti-CCP, ESR, CRP,
C3, C4; TTE, CT chest, PFT
- วินิจฉัย ถ้ามี 3 ใน 5 อาการ คือ digital
swelling, Raynaud phenomenon, synovitis, myositis, acrosclerosis
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น