Clostridioides difficile infection
ปัจจัยเสี่ยง คือ ประวัติการได้ ATB เช่น fluoroquinolones, clindamycin, cephalosporins, penicillins โดยเฉพาะในคนที่อายุมาก หรือ นอนรพ.
อาการแบ่งเป็น
- Nonsevere CDI อาจมีไข้ต่ำ ปวดท้องบิด ถ่ายเหลว > 3 ครั้ง/วัน ตรวจ CBC มี WBC < 15000 และ Cr < 1.5
- Severe CDI มีอาการหนักขึ้น ตรวจ WBC > 15,000 และ Cr > 1.5
- Fulminant colitis คือ มี hypotension,
shock, ileus, megacolon
- Recurrent CDI คือ เป็นซ้ำหลังรักษาครบภายใน 2-8 สัปดาห์
การวินิจฉัย
- ในรายที่ถ่ายเหลวมาก
(ถ้าอาการไม่ชัดอาจเป็น colonization ก็ได้) และสงสัยให้ส่ง screening ด้วย stool for glutamate dehydrogenase (GDH) และ toxin
A + B ถ้า positive ทั้งคู่สามารถวินิจฉัยได้เลย
ถ้า positive อันเดียวให้ส่ง NAAT for C.
difficile toxin gene เพื่อยืนยัน
- Abdominal imaging ในรายที่อาการหนัก เพื่อประเมิน surgical
condition
- Colonoscopy ไม่จำเป็น ยกเว้น ในรายที่ไม่มีถ่ายเหลว เช่น bowel ileus ถ้าพบ pseudomembranes ก็วินิจฉัยได้
การรักษา
- หยุด ATB ที่เป็นสาเหตุ ทำ contact precaution ล้างมือด้วยสบู่ (alcohol resistance)
- ถ้าอาการไม่หนัก ให้ fidaxomicin 200 mg PO BID x 10 วัน (รองมา คือ vancomycin 125 mg PO QID x 10 วัน หรือ metronidazole 500 mg PO TID x 10-14 วัน)
- ในรายที่เป็นซ้ำ พิจารณาให้สูตรเดียวกัน และถ้าเป็นซ้ำใน 6 เดือน พิจารณาเพิ่ม bezlotoxumab แต่ถ้าเป็นซ้ำ > 3 รอบ แนะนำ fecal microbiota transplantation (FMT)
- Fulminant colitis ให้ vancomycin 500 mg PO QID + metronidazole 500 mg IV q 8 h; ถ้ามี ileus แนะนำ FMT (รองมาคือ rectal vancomycin)
การป้องกัน
- ในรายที่มีความเสี่ยง (อายุ > 65 ปี, ประวัติ severe CDI, immunosuppression) ให้ PO vancomycin แต่ไม่แนะนำการให้ probiotic
- Contact precaution เมื่อตรวจผู้ป่วยที่สงสัย CDI ใส่ถุงมือ ผ้ากันเปื้อน ไม่ใช้อุปกรณ์ร่วมกับคนอื่น แยกห้อง ล้างมือด้วยน้ำและสบู่ ทำความสะอาดห้องและอุปกรณ์ด้วยน้ำยาที่กำจัดสปอร์ได้ เช่น น้ำยาฟอกขาว
- มีการควบคุมการใช้ antibiotic ให้เหมาะสม และหลีกเลี่ยง gastric acid suppression
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น