Late-life unipolar depression
ความเสี่ยง
พบโรคซึมเศร้าเพิ่มขึ้นในคนสูงอายุที่มีโรคประจำตัว
โดยเฉพาะ caner, MI, และ neurological
disease เช่น stroke,
Parkinson disease
อัตราการฆ่าตัวตาย พบสูงกว่าวัยอื่น 2 เท่า โดยเฉพาะผู้ชายผิวขาวอายุ > 85 ปี ส่วนใหญ่จะมีอาการซึมเศร้าครั้งแรกและเพิ่งมาพบแพทย์ภายใน
1 เดือน
แบบคัดกรองภาวะซึมเศร้า
- ในช่วงเดือนที่ผ่านมา ท่านรู้สึกหดหู่ เศร้า หรือท้อแท้สิ้นหวัง หรือไม่
- ในช่วงเดือนที่ผ่านมา ท่านรู้สึกเบื่อ ทำอะไรก็ไม่เพลิดเพลิน หรือไม่
ประเภทของ
depression
- Major
depression คือ
เข้าเกณฑ์ของ DSM-5 มี 5/9 ข้อ (เศร้า หมดสุข กินน้อย นอนน้อย คิดช้า เคลื่อนไหวช้า ออกเพลีย ไร้ค่า
อยากตาย)
- Minor depression คือ ไม่เข้าเกณฑ์ พบมากกว่า มีผลกระทบกับสุขภาพมาก
- Psychotic depression เป็น unipolar
major depression ชนิดรุนแรง อาจเสีย cognition มากคล้ายกับ dementia
- Vascular depression มักเป็นหลัง stroke (มักเป็นที่ left prefrontal cortex) ภายใน 3-6
เดือน มีอาการเคลื่อนไหวช้า มักเฉยชาต่อสิ่งรอบตัว (anhedonia)
มากกว่าจะมีอาการเศร้า
การรักษา
- Psychotherapy
- Pharmacotherapy อาจต้องใช้เวลาถึง 8-16 สัปดาห์จึงจะเห็นผลลัพธ์ ควรติดตามอาการภายใน
2 สัปดาห์เพื่อดูผลข้างเคียงและปรับขนาดยา และนัดดูอาการภายใน
2-4 สัปดาห์เพื่อดูการตอบสนอง
- SSRI เลือกใช้เป็นยาตัวแรก เช่น sertraline start 12.5-25 mg PO เช้า (25-200
mg/d), fluoxetine start 5-10 mg PO เช้า (5-60 mg/d)
- SNRI เลือกเป็นตัวรอง เช่น venlafaxine,
duloxetine
- Atypical
antidepressants เช่น mirtazapine อาจใช้ในคนที่มีปัญหา
insomnia, agitation, restlessness, anorexia, weight loss
- TCA ใช้เป็นตัวเลือกท้ายๆ เพราะมีผลข้างเคียงมาก (arrhythmia,
anticholinergic) ควรสั่งโดย psychiatrist
- MAOI สำหรับในรายที่ไม่ตอบสนองต่อยาอื่น ควรสั่งโดย psychiatrist
- Electroconvulsive therapy ใช้บ่อยกว่าในคนอายุน้อย เหมาะกับคนที่ทนยาไม่ได้
หรือไม่ตอบสนองต่อยาเท่าที่ควร แต่อาจทำให้ memory
loss ชั่วคราว
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น