Drug prescribing for older adults
เมื่อผู้สูงอายุมีอาการใหม่เกิดขึ้นให้คิดถึง adverse drug events ไว้ก่อนเสมอ
ซักประวัติการใช้ยาสมุนไพรหรืออาหารเสริมเสมอ ตัวอย่างยาที่มี
drug interaction เช่น ginkgo biloba กับ warfarin และ St. John’s wort กับ SSRI
การให้ยาที่ไม่เหมาะสม
- Drug Burden
Index สำหรับยากลุ่ม anticholinergic และ sedative แม้ว่ายาที่มี anticholinergic activity น้อยแต่ถ้าได้ขนาดสูงหรือได้หลายตัวก็ทำให้มี
anticholinergic activity มาก
**Anticholinergic Risk Scale ถ้า > 3 จะเสี่ยงต่อการเป็น dementia
- Beer criteria รวบรวมการให้ยาที่อาจไม่เหมาะสม เช่น
- หลีกเลี่ยงการให้
opioid ร่วมกับ BZD หรือ gabapentinoids เพราะเสี่ยงต่อ severe
sedation
- ระวังการใช้
Bactrim ร่วมกับ ACEI,
ARB และคนที่ CCr ไม่ดี เพื่อหลีกเลี่ยง hyperkalemia
- H2-blocker
อาจใช้ใน dementia แต่ให้หลีกเลี่ยงใน delirium
- หลีกเลี่ยงการใช้
SNRI ในคนที่มีประวัติล้มหรือกระดูกหัก
- หลีกเลี่ยงการใช้
insulin sliding scale เพราะเสี่ยงต่อ
hypoglycemia เว้นแต่ใช้ basal/long-acting insulin
การไม่ได้ให้ยาที่เหมาะสม อาจใช้ START (Screening
Tool to Alert doctors to the Right Treatment) ในการคัดกรองการให้ยาในผู้สูงอายุ
ส่วนเหตุผลอื่นที่พบ เช่น ปัญหาด้านการเงิน
และไม่มีเม็ดยาขนาดที่พอดีกับผู้สูงอายุ
ปัญหา adverse drug events ที่พบ ได้แก่
- อาการของผลข้างเคียงจากยาแต่ไปรักษาเป็นโรคใหม่ (prescribing cascade) เช่น
- Antipsychotic หรือ metoclopramide เกิด EPS symptoms แล้วได้ยา antiparkinson แล้วทำให้เกิด orthostatic hypotension และ delirium
- Cholinesterase
inhibitor เกิด urinary incontinence แล้วได้ anticholinergic
(oxybutynin) เพื่อรักษา incontinence
- CCB เกิด leg edema แล้วได้ loop diuretic
- Thiazide เกิด hyperuricemia ได้ยารักษา gout
- NSAID เกิด high BP ได้ anti-HT
- ปฏิกิริยาระหว่างยา (drug-drug interactions) เช่น
- warfarin กับ NSAID, SSRI, omeprazole, lipid-lowering agents, amiodarone, fluorouracil (warfarin overdose)
- glyburide กับ co-trimoxazole (hypoglycemia)
- digoxin กับ clarithromycin (digoxin toxicity)
- ACEI กับ potassium-sparing diuretic (hyperkalemia)
- การให้ยาในขนาดที่ไม่เหมาะสม โดยเฉพาะในกลุ่มเสี่ยง เช่น renal impairment (ใช้ Cockcroft-Gault equation เพราะใช้อายุมาคำนวนด้วย)
- คนสูงอายุในศูนย์ดูแลพบภาวะไม่พึงประสงค์จากยาที่พบบ่อย
ได้แก่ atypical antipsychotic และ warfarin
การดูแลเรื่องยาแบบเป็นระบบในผู้สูงอายุ
- ทบทวนยาที่ใช้ปัจจุบัน (ขนาดยาเหมาะสม มีผลข้างเคียงหรือไม่ ปฏิกิริยาระหว่างยาหรือไม่
ปรับวิธีใช้ยาให้ง่าย)
- หยุดยาที่ไม่จำเป็น
(พิจารณาจากหลักฐานทางการแพทย์
ข้อบ่งชี้ชัดเจน ได้ประโยชน์มากกว่าผลเสีย มีผลข้างเคียงหรือไม่
มียาตัวอื่นที่ดีกว่าหรือไม่ ลดขนาดยาได้หรือไม่)
- พิจารณาการรักษาแบบไม่ใช้ยา
- พิจารณาเปลี่ยนเป็นยาตัวที่ปลอดภัยกว่า
- ใช้ยาในขนาดน้อยที่สุดที่ได้ผล
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น