วันพุธที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2566

Sequelae of mild traumatic brain injury

Sequelae of mild traumatic brain injury

mTBI คือ GCS 13-15 ที่ 30 นาทีหลังอุบัติเหตุ

Postconcussion syndrome (PCS)

  • อาการที่พบบ่อย ได้แก่ ปวดศีรษะคล้าย tension หรือ migraine มึนศีรษะ นอนไม่หลับหรือกลางวันง่วงนอนมาก มีปัญหาด้านอารมณ์ (หงุดหงิด วิตกกังวล ซึมเศร้า) สมาธิ ความจำ
  • คนสูงอายุและผู้หญิงจะมีโอกาสเกิด PCS ได้ง่ายกว่า แนะนำให้ทำ MRI ถ้ายังไม่ได้ทำ
  • การรักษา หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่อาจ second concussion และจำกัดกิจกรรมในวันแรก แล้วค่อยๆกลับไปทำกิจกรรมตามปกติ ให้การรักษาตามอาการ (ปวดศีรษะ นอนไม่หลับ)
  • อาการมักเป็นมากที่สุดภายใน 7-10 วัน ส่วนใหญ่มักหายใน 3 เดือน ปัจจัยเสี่ยงสำคัญที่ทำให้เป็นนาน คือ การมีประเด็นเรื่องคดีความ หรือ จ่ายเงินชดเชย

Second impact syndrome คือ เกิด diffuse cerebral swelling จาก second concussion ในระหว่างที่ยังมีอาการจาก first concussion

Post-traumatic headache

  • มีอาการปวดศีรษะคล้าย tension หรือ migraine เกิดอาการภายใน 7 วันหลังอุบัติเหตุ ถ้าเป็น < 3 เดือน เรียกว่า acute PTH ถ้า > 3 เดือน เป็น chronic/persistent PTH
  • Acute Tx ให้ยาแก้ปวด (paracetamol, ibuprofen) ถ้าไม่ดีขึ้นให้ยาสองอย่างร่วมกัน หรือ ให้ abortive Tx เหมือน migraine เช่น triptans, CGPR antagonist, ergotamine
  • Preventive Tx ใน persistent PTH หรือ acute PTH ที่อาการกำเริบบ่อย ถ้าอาการแบบ migraine ให้ metoprolol หรือ cardesartan หรือมี depression/neuropathic pain ร่วมด้วยให้ amityptyline; ถ้ามีอาการแบบ tension ให้ amitriptyline, mirtazapine, หรือ venlafaxine

Posttraumatic vertigo ให้ตรวจและรักษาตามโรคที่สงสัย เช่น sustained vertigo ทันทีหลังอุบัติเหตุให้สงสัย ENT condition (cochlea/vestibular injury, labyrinthine concussion, perilymphatic fistula) ถ้าเป็นภายหลังอาจเป็น brain stem infraction จาก vertebral artery dissection; ถ้าเป็นพักๆ สัมพันธ์กับท่าทาง (BPPV) หรือเป็นขึ้นมาเอง (epileptic vertigo) แต่ถ้าเป็นนานหลายนาที ร่วมกับปวดศีรษะ (vestibular migraine) หรือ hearing loss/tinnitus/aural fullness (Meniere disease)

Sleep-wake disorders

  • Excessive daytime sleepiness ให้หาสาเหตุอื่น (เช่น depression, anxiety, OSA, insufficient sleep, RLS, medication SE) อาจให้ยา modafinil (แนะนำ) หรือ methylphenidate
  • Pleiosomnia คือ ต้องการนอนมากขึ้น 1-2 ชม. เทียบกับปกติ ดูว่ามีผิดปกติเรื่องการนอนอื่นด้วยหรือไม่ รักษาตามอาการ หายเองในหลายสัปดาห์-หลายเดือน
  • Insomnia (ดูเรื่อง insomnia) ให้แยกกับ delayed sleep-wake phase disorder และ RLS รักษาให้ cognitive behavioral therapy (แนะนำ) หรือ acupuncture หรือ ให้ยาระยะสั้น
  • Circadian rhythm disorders (ดูเรื่อง Circadian sleep-wake rhythm disorder) ที่พบบ่อย คือ delayed sleep-wake phase disorder
  • Parasomnias เช่น nightmare (prazosin, clonazepam), REM sleep behavior disorder (melatonin, clonazepam)  และรักษา PTSD ร่วมด้วย

ภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ เช่น postconcussion syndrome, headache, epilepsy, sleep disturbance, CN deficit, และในรายที่มี mTBI ซ้ำๆอาจทำให้เป็น chronic traumatic encephalopathy

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น