แบ่ง ankle sprain ตามตำแหน่ง ได้แก่ lateral ankle sprain, medial ankle sprain, syndesmotic sprain (high ankle sprain)
Grading I ปวดบวมเล็กน้อย
ลงน้ำหนักได้ ตรวจร่างกายไม่มี instability; II ปวดบวมปานกลาง
มี ecchymosis ลงน้ำหนักแล้วเจ็บ ตรวจร่างกายมี joint
instability + limit ROM; III ปวดบวมมาก มี ecchymosis ลงน้ำหนักไม่ได้ มี joint instability + no ROM
ประวัติ กลไกการบาดเจ็บ
เดินได้หรือไม่ (Ottawa ankle rule) และประวัติ ankle
sprain เพราะถ้าเคยเป็นจะเสี่ยงเป็นซ้ำ
ตรวจร่างกาย คลำ
fibula, distal tibia, lateral/medial
ankle ligaments, Achilles tendon, และตรวจตาม Ottawa ankle
rules (posterior edge/tip of the lateral malleolus, posterior edge or tip of
the medial malleolus, base of the fifth metatarsal, navicular bone). ตรวจ “ดึง บิด บีบ หมุน”
ได้แก่ anterior drawer, Talar tilt, squeeze test, external rotation test
Imaging ส่ง anteroposterior,
lateral, และ mortise ตาม Ottawa ankle
rules อาจทำ US เพื่อวินิจฉัย ankle
ligament injuries
การรักษาเบื้องต้น
ได้แก่ PRICE และทำ ROM exercise (plantarflexion,
dorsiflexion, foot circles) เมื่ออาการปวดบวมทุเลาลง
Immobilization ใน Moderate
(grade II) sprains ให้ splint ได้แก่
elastic wrap, Aircast, soft lace-up, hook-and-loop-closure
brace หรือ figure-eight brace หลายสัปดาห์ หรือ
หลายเดือนในนักกีฬาหรือทำงานใช้แรงงาน; Severe (grade III) ankle sprains ให้ทำ non-weightbearing + immobilization (อาจใส่ cast หรือ rigid splint + elastic
bandage) 10 วัน หลังจากนั้นเปลี่ยนเป็น
semi-rigid ankle supports อาจหลายสัปดาห์
แล้วค่อยเปลี่ยนเป็น figure-eight brace.
Rehabilitation phase 1 (เริ่ม 24-48
ชม. หลังอุบัติเหตุ ทำ 3-7 วัน) ทำ alphabet exercise; phase 2 (3-5 วันหลังบาดเจ็บจนหายสนิท) ทำ single-leg
balance drills 1 นาที (+/- เท้าเปล่า หลับตา
ยืนบนพื้นนุ่ม) และเพิ่ม strength ต้านแรง
15 วินาที (internal rotate, external rotate,
dorsiflexion, plantar flexion); phase 3 (5-10 วันหลังบบาดเจ็บ
จนหายสนิท) stretch (dorsiflexion, plantarflexion,
inversion, eversion); phase 4 (7-10 วัน หลังบาดเจ็บ) challenge วิ่งตามถนน ขึ้นเขา ทำงาน
กลับไปทำงานเบาๆได้ใน
2-3 วัน ใน severe injury ใช้เวลา 3-6
สัปดาห์ ถ้าไม่หายให้ทำ MRI
เพื่อ r/o talar dome fracture หรือ syndesmosis
injury.
การป้องกัน ใส่ Lace-up
supports เมื่อมีกิจกรรมเสี่ยง ฝึก proprioception และ strength training
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น