Seizure and Epilepsy
Seizure แบ่งเป็น acute symptomatic
seizure (provoked seizure/reactive seizure) เกิดจาก acute
systemic illness หรือ brain insult และ unprovoked seizure (reflex) เกิดจาก preexisting brain lesion [reflex seizure เป็นการชักที่ถูกกระตุ้นจากปัจจัยจำเพาะภายนอก
เช่น แสงไฟ หรือภายใน เช่น อารมณ์ ความคิด]
การแบ่งประเภทตาม ILAE
- แบ่งตามอาการและ EEG: focal (partial) seizure, generalized seizure, unknown
seizure
- แบ่งตาม epilepsy syndrome มี > 30 ประเภท
- แบ่งตามสาเหตุ ได้แก่ genetic, structural, metabolic, immune, infectious, และ unknown categories
- แบ่งตาม EEG pattern อย่างง่ายเป็น 5 ประเภท ได้แก่ Familial, Genetic generalized epilepsies, Self-limited
epilepsies, Epilepsies with encephalopathy, Focal structural epilepsies
อุบัติการณ์ 1%
พบ Unprovoked seizure > 1 ครั้ง ในเด็ก <
14 ปี มากสุดช่วงหลังเกิด 2-3 เดือนแรก
อาการชักมักมีรูปแบบซ้ำๆเดิมกับครั้งก่อน มักไม่มีอะไรกระตุ้น
ส่วนใหญ่หมดสติระหว่างชัก หลังจากตื่นมักสับสน เด็กอายุ > 6 ขวบจะมีรูปแบบอาการชักมักเหมือนผู้ใหญ่
ซักประวัติ
- เหตุการณ์และอาการก่อนชัก ระหว่างชัก หลังชัก ความถี่ ระยะเวลา
- ประวัติอดีต พัฒนาการ ประวัติจิตสังคม ครอบครัว ยา
ตรวจร่างกาย ดูลักษณะภาวนอก
(Angelman syndrome) และตรวจตามปกติ ให้เน้นการตรวจ eye
(consult ophthalmologist) และ skin (consult dermatologist)
Investigation
- Imaging อาจทำ CT brain เมื่อมาตรวจฉุกเฉิน
และทำ MRI ในรายที่สงสัย localization จากอาการหรือ
EEG หรือมี developmental delay
- EEG ทำเพื่อวินิจฉัยและแยกประเภท epilepsy
syndrome ถ้าทำตอนตื่นและหลับ ทำช่วงเวลาไม่ห่างจากชัก
และทำซ้ำๆจะช่วยในการวินิจฉัย
- ถ้าประวัติ ตรวจร่างกาย MRI และ EEG ไม่พบสาเหตุชัก
ให้ตรวจหาสาเหตุอื่น เช่น metabolic, genetic, immune-mediated,
neurodegenerative disorders
การรักษา
- มักเริ่มการรักษาใน second unprovoked seizure (first unprovoked seizure ในบาง syndrome หรือเสี่ยงชักซ้ำสูง) เลือกยาตาม epilepsy syndrome ยาที่นิยม คือ levetiracetam
start 20 mg/kg/d BID then MT 40-60 mg/kg/d (ยกเว้นในบาง syndrome
ที่มียาเฉพาะ เช่น infantile spasms (corticotropin),
absence epilepsy (ethosuximide, valpoate), juvenile myoclonic epilepsy (valpoate))
- ยาหลายตัวต้อง monitor และระวังผลข้างเคียง เช่น valproate
ต้องตรวจ VPA level 1-2 สัปดาห์หลังเริ่ม
และตรวจ hepatic enzyme ทุก 1-2 เดือน
ถ้ามีอาเจียน (มักเป็นอาการแรก) อาจสงสัย
early pancreatitis, hepatotoxicity; ถ้าป่วยอย่างน้อย 2-3
วัน ควรตรวจ CBC +/- LFTs
- ยาหลายตัวมีความสัมพันธ์กับ suicidal ideation และ depression
- ในรายที่คุมชักไม่ได้หลังให้ยาหลายตัว
แนะนำส่งตัวเพื่อพิจารณาการรักษาอื่นๆ เช่น epilepsy surgery, ketogenic diet, vagus nerve
stimulation
- ในรายที่ไม่มีชักนาน 18-24 เดือน ให้ค่อยๆลดยาลงก่อนหยุด
โอกาสชักซ้ำ 30-40%
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น