Dyspnea in palliative care
ประเมินความรู้สึกเหนื่อย ผลกระทบต่อชีวิตประจำวัน
ความรู้สึกร่วม เช่น วิตกกังวล กลัวตาย ซึมเศร้า และหาสาเหตุที่แก้ไขได้
การรักษา
- วิธีบรรเทาอาการเหนื่อย เช่น ออกกำลังกาย (endurance training,
neuroelectrical muscle stimulation) ฝึกการหายใจ (purse-lips,
diaphragmatic breathing) หรือ ลดการรับรู้ เช่น ใช้ลมเย็นเป่าหน้า หันเหความสนใจ
(จินตนาการ ฝังเข็ม ฟังเพลง)
ใช้เครื่องสั่นหน้าอก
- Oxygen supplement อาจทดลองให้ในผู้ป่วยที่มี hypoxemia (SpO2 <
88%)
- Opioid ในรายที่ยังมีอาการทุกข์ทรมานจากอาการเหนื่อย
และเฝ้าติดตามผลข้างเคียง
- ในรายที่เหนื่อยเมื่อออกแรง
ให้ morphine 5
mg PO q 4 h + 2.5 mg PO PRN q 2 h หรือ ถ้ากินไม่ได้ให้ morphine
3 mg SC q 4 h + 1.5 mg SC PRN เมื่อปรับขนาดยาต่อวันได้จึงเปลี่ยนมาเป็น
sustained-release
- ในรายที่เหนื่อยแม้ในขณะพัก
ให้ morphine
2.5 mg IV q 15-30 min หรือ SC q 30-60 min พิจารณาเพิ่มขนาดเป็นสองเท่าถ้าให้ซ้ำแล้วยังไม่ดีขึ้น
- ในรายที่ใช้ opioid อยู่แล้ว
ให้เพิ่มโดยเทียบกับขนาดที่ใช้ต่อวัน ให้ PO เพิ่มต่อวันอีก 25%
หรือ ถ้าเหนื่อยรุนแรงให้ PO 10% q 2 h หรือ IV
5% q 1 h
- BZD ในรายที่มี
anxiety ร่วมด้วย เช่น midazolam PO 2 mg titrate
- รักษาอาการเหนื่อยตามสาเหตุ
เช่น bronchodilators,
glucocorticoids, diuretics
- Noninvasive ventilation
ปกติจะไม่ได้ใช้ ยกเว้นในบางสถานการณ์ เช่น ต้องทำ palliative
sedation เพื่อควบคุมอาการเหนื่อย แต่ต้องการตื่นอีกด้วยจุดประสงค์บางอย่าง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น